• Welcome to ลงประกาศฟรี โปรโมทเว็บ SEO SMF PBN.
 

🦖การสำรวจชั้นดิน 👉และ🌏 การสำรวจดินในงานก่อสร้าง🥇

Started by Prichas, Jul 30, 2024, 05:48 PM

Previous topic - Next topic

Prichas

การเจาะสำรวจดิน 🎯คือกรรมวิธีการเจาะลงไปในชั้นดิน, การเก็บตัวอย่าง, ทดสอบคุณสมบัติดินในสนาม, หยั่งชั้นดินจากผิวดิน 🎯หรือใช้เทคนิคอื่น ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลทางแนวดิ่งของชั้นดิน และการเปลี่ยนแปลงทางแนวราบ เพียงพอในการที่จะใช้ออกแบบ 👉หรือการศึกษาเชิงปฐพีกลศาสตร์ การเจาะสำรวจดินต้องพิจารณาการใช้งาน เช่น งานถนนหรือสนามบิน การสำรวจจะเป็นการเจาะตื้น แต่งานฐานรากเสาเข็มต้องสำรวจลงไปลึกกว่าปลายเข็มที่คาดว่าจะใช้งาน ✨สำหรับในบทนี้จะพูดถึงการเจาะสำรวจดินโดยวิธีเบื้องต้น โดยใช้ สว่านมือ (Hand Auger), การเจาะล้าง (Wash Boring) 🛒และการเก็บตัวอย่างดินด้วยกระบอกบาง📢

🌏🌏🌏เหตุผลในการเจาะสำรวจดินก่อนก่อสร้าง📢📢📢

1. เพื่อให้รู้ประเภทและชนิดของดินใต้พื้นที่ก่อสร้าง ✨ทราบลักษณะเชิงกล ช่วยให้เราเลือกฐานรากได้อย่างถูกต้อง 👉เช่น หากดินแข็งพอสมควรอาจใช้ฐานแผ่🎯

2. การรู้ความลึกของชั้นดินแข็ง 👉ช่วยในการคำนวณกำลังรับน้ำหนักเสาเข็ม⚡ เลือกขนาดและความยาวเสาเข็มที่ต้องใช้ได้✨

3. การลดความเสี่ยงในการตอกเสาเข็ม 📌เพราะหากเจอชั้นดินแข็ง แต่ไม่หนาที่ชั้นความลึกไม่มาก 🦖อาจทำให้เกิดความเข้าใจผิดว่าถึงชั้นดินแข็ง 🌏ทั้งที่จริง ๆ ยังสามารถตอกต่อไปได้ ⚡หากพื้นที่สำรวจมีความผันผวนของดินสูง วิศวกรควรสั่งเจาะสำรวจดินหลายหลุม เพื่อเปรียบเทียบ 📢เพราะอาจต้องออกแบบฐานรากหลายแบบ สำหรับก่อสร้างอาคารนั้น🎯



✅✅✅การสำรวจดิน (Soil Exploration)🛒🛒🛒

การเจาะดิน✅คือการการขุดหลุมในดินเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของชั้นดิน⚡และเก็บตัวอย่างดินเพื่อนำมาทดสอบคุณสมบัติในห้องปฏิบัติการ📌โดยทั่วไปการสำรวจชั้นดินที่ใช้มากในประเทศไทย 🦖ได้แก่

1. การเจาะโดยใช้สว่านมือ (Hand Auger) 🥇เป็นการเจาะด้วยแรงคน โดยใช้สว่านมือและแท่งเจาะดังรูปด้านล่าง 🛒โดยที่ก้านเจาะยาวประมาณ 1 เมตร สามารถต่อเพิ่มความยาวได้หลายท่อน เมื่อกดพร้อม ๆ กับหมุนก้านจนดินเข้ามาเต็มสว่านแล้วจึงดึงขึ้นเพื่อนำดินออก ⚡ดินส่วนนี้สามารถนำไปทดสอบคุณสมบัติบางประเภททางวิศวกรรม ✨การเจาะด้วยสว่านมือสามารถทำได้ลึกถึง 6-10 เมตรในดินเหนียวแข็งปานกลาง 👉ข้อเสียของวิธีการเจาะนี้คือไม่สามารถเก็บตัวอย่างดินเพื่อทดสอบความแข็งแรงหรือการทรุดตัวได้เนื่องจากโครงสร้างดินถูกทำลายโดยสว่าน🛒

2. การเจาะโดยใช้การฉีดล้าง (Wash Boring) 🛒คือการใช้การฉีดน้ำด้วยแรงดันสูงเพื่อให้เกิดหลุม และเกิดการรบกวนดินด้านล่างน้อยที่สุด 📌วิธีการเจาะเริ่มโดยการสูบน้ำผ่านก้านเจาะไปยังหัวฉีดที่ก้นหลุมพร้อมกับการกระแทกหรือหมุนของหัวเจาะ 🦖ทำให้ดินก้นหลุมหลุดไหลตามน้ำขึ้นมาบนผิวดินลงในอ่างตกตะกอนแล้วสูบน้ำที่ใสนำไปใช้ได้อีก 👉ดังรูปด้านล่าง วิธีนี้ต้องอาศัยสามขา (Tripod) เครื่องกว้าน (Motor และ Catch head) ✨และปั๊มน้ำ ในกรณีที่เจาะดินอ่อน จะต้องใช้ปลอกกันดินด้วย โดยต่อเป็นท่อน ๆ 🦖และเมื่อเจาะถึงชั้นทรายจะไหลเข้ามาในหลุม จึงต้องผสมสารเบนโทไนต์ (Bentonite) กับน้ำ 🌏เนื่องจากเบนโทไนต์คือแร่ชนิด มอนต์มอริลโลไนต์ มีความสามารถในการดูดน้ำดีและพองตัวได้มาก 🦖ทำให้ความหนาแน่นของน้ำภายในหลุมมากกว่าน้ำในชั้นทราย🦖 น้ำจึงไม่ไหลเข้าในหลุม การเจาะประเภทนี้สามารถหยุดเพื่อเก็บตัวอย่างดินได้เป็นระยะ ๆ ตามกำหนด ✨การเจาะสำรวจในกรุงเทพฯ สำหรับการก่อสร้างอาคารจะอยู่ที่ความลึก 30-80 เมตร ขึ้นอยู่กับน้ำหนักของอาคาร✅
Tags : ทดสอบดิน